INDSA

Industry for National Defense & Security Association
สมาคมอุตสาหกรรมเพื่อการป้องกันประเทศ

Plongez l'Excellent Casino Zer sur Web : Une Destination de Jeu Exceptionnelle

CasinoZer est une plateforme de jeu en ligne qui offre une expérience de casino exceptionnelle aux joueurs du monde entier. Avec une vaste sélection de jeux de haute qualité, allant des machines à sous aux jeux de table en passant par les jeux en direct, CasinoZer garantit une expérience de jeu variée et passionnante pour tous les goûts. L'interface conviviale et intuitive du site permet une navigation fluide, tandis que les graphismes et les effets sonores de pointe assurent une immersion totale dans l'univers du jeu en ligne.

L'un des points forts de l' Excellent Casino Zer sur Web est sa générosité en matière de promotions et de bonus. Les nouveaux joueurs sont accueillis avec un généreux bonus de bienvenue, tandis que les joueurs réguliers bénéficient de promotions hebdomadaires, de tours gratuits et de programmes de fidélité attractifs. De plus, CasinoZer accorde une grande importance à la sécurité et à la confidentialité de ses joueurs. Le site utilise des technologies de cryptage de pointe pour protéger les données personnelles et financières des utilisateurs, garantissant ainsi une expérience de jeu sûre et sécurisée.

Enfin, le service clientèle de CasinoZer est à la hauteur de sa réputation. Disponible 24 heures sur 24 et 7 jours sur 7, l'équipe de support est toujours prête à répondre aux questions et à résoudre les problèmes des joueurs avec professionnalisme et efficacité. Que ce soit pour obtenir de l'aide avec un paiement, poser une question sur un jeu ou résoudre un problème technique, les joueurs peuvent compter sur une assistance rapide et courtoise. En résumé, CasinoZer est une destination de choix pour les amateurs de jeux de casino en ligne, offrant une expérience de jeu de qualité supérieure dans un environnement sûr et sécurisé.

พรบ.สภาอุตสาหกรรมความมั่นคงแห่งชาติ

เหตุจำเป็นของการตราพระราชบัญญัตินี้
“พรบ.สภาอุตสาหกรรมความมั่นคงแห่งชาติ”
Definition = ไทยทำ ไทยใช้ ไทยมั่นคง

นิยาม
รักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและความมั่นคง

หลักการเหตุผล
(เพิ่มเติม)

พันธกิจหลัก
(เพิ่มเติม)

วันอังคารที่ 12/3/67 เวลา 10.00 น.ที่ สนง.สอป.
ประชุมเตรียมการเสนอร่าง พรบ.

รายชื่อผู้เข้าประชุม
1.พล.อ.อ.มานัต วงษ์วาทย์
2.พล.อ.อ.ศิริพล ศิริทรัพย์
3.ดร.ณัฏฐ์ ธีระณัฐสุภานนท์
4.พอ.สถิตย์พันธ์ ประกอบผล
5.ภาณุพันธ์ โภคามาศ

[ กมธ.ทหาร ไม่คัดค้านการจัดซื้อเรือฟริเกต เนื่องจากเป็นการต่อเรือในประเทศไทย ก่อให้เกิดการจ้างงาน และการถ่ายทอดเทคโนโลยี ]
– – – – – – – – – – – – – – – – – – –
เมื่อวานนี้ (29 ก.พ. 67) กมธ.ทหารได้รับเกียรติจากเสนาธิการทหารเรือ พล.ร.อ.วรวุธ พฤกษารุ่งเรือง และคณะ เข้ามาชี้แจง แผนการจัดซื้อเรือฟริเกต ในปีงบประมาณ 2567 ในวงเงินงบประมาณ 17,000 ล้านบาท ซึ่งทราบภายหลังว่าถูกคณะอนุกรรมาธิการงบประมาณปี 2567 ตัดงบประมาณออกทั้งก้อน
.
จากการชี้แจง พบว่าการจัดซื้อเรือฟริเกตในครั้งนี้ มีเงื่อนไขสำคัญ คือ จะเป็นการต่อเรือฟริเกต ซึ่งมีระวางสูงถึง 3,900 ตัน ในประเทศไทย นับเป็นการต่อเรือรบขนาดใหญ่ขนาดนี้ครั้งแรกในประวัติศาสตร์ ซึ่งทำให้เกิดการจัดจ้าง และจัดซื้อภายในประเทศมูลค่าหลายพันล้านบาท และยังมีคุณูปการด้านการถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านวิศวกรรมการต่อเรือภายในประเทศ ส่งผลเชิงบวกต่อเศรษฐกิจ และการพัฒนาของประเทศในระยะยาว
.
ไม่ใช่การจัดซื้อในรูปแบบที่เอาเงินไปแลกเรือแบบที่ผ่านๆ มา
.
นอกจากนี้หากพิจารณาถึงจำนวนเรือฟริเกตที่มีประจำการอยู่ และเรือที่กำลังจะปลดประจำการ ก็พบว่า การจัดซื้อเรือฟริเกตในครั้งนี้ มีความสมเหตุสมผล ในการปฏิบัติหน้าที่ในน่านน้ำไทย ที่อธิบายต่อประชาชนให้เข้าใจได้
.
เข้าใจว่า กองทัพเรือจะมีการชี้แจงเหตุผลดังกล่าวต่อ คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างงบประมาณปี 2567 อีกครั้งในวันจันทร์ที่ 4 มี.ค. 67
.
กมธ.ทหาร จึงมีมติให้ทำหนังสือด่วนถึง รมว.กลาโหม เพื่อส่งรายละเอียดที่กองทัพเรือชี้แจงต่อ กมธ.ทหาร เพื่อให้ รมว.กลาโหม รับทราบ ว่าหากการจัดซื้ออยู่ในวงเงินที่เหมาะสม โปร่งใส และเป็นการต่อเรือฟริเกตภายในประเทศ ทาง กมธ.ทหาร ก็ไม่ได้ติดขัด หรือเห็นแย้งแต่อย่างใด
.
เพื่อให้ รมว.กลาโหม ได้ใช้วิจารณญาณ และอำนาจของตนเพื่อชี้แจงต่อ กมธ.วิสามัญพิจารณาร่างงบประมาณปี 2567 เพื่อให้ทาง กมธ.วิสามัญฯ ได้รับข้อมูลที่ครบถ้วน และสามารถใช้อำนาจพิจารณาถึงประโยชน์ที่ประเทศจะได้รับ อย่างรอบคอบต่อไป

สมาคมอุตสาหกรรมเพื่อการป้องกันประเทศร่วมมือกับคณะสมาชิก สอป. ให้การต้อนรับคณะนักศึกษา Air War College เข้าพบเพื่อหารือความร่วมมือกับ สอป จำนวน 16 นาย (นาวาอากาศโท) เพื่อเป็นความสัมพันธ์อันดี และความร่วมมือ รวมทางด้านการศึกษาจัดหาวัสดุและ supply chain จากสมาชิกสอป ในอนาคต

บรรยาย บนเวที ฉบับเต็ม

“ห้องสัมมนาแตก ทุกหน่วยพร้อมใจเข้าร่วมงาน”

ข่าวประชาสัมพันธ์ (Press Release)
งานสัมมนา ทิศทางอุตสาหกรรมเพื่อความมั่นคง 2567
วันอังคารที่ 27 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 08.00 – 12.00 น.
ณ ห้องบอลลูม C โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ เซ็นทรัลเวิลด์


“ไทยทำ ไทยใช้ ไทยมั่นคง”

ส่องทิศทางอุตสาหกรรมเพื่อความมั่นคง ผนึก 3 กำลัง กองทัพ รัฐบาล และภาคเอกชน หวังพลิกอุตสาหกรรมและเศรษฐกิจประเทศ ภาคเอกชนมั่นใจศักยภาพการผลิต คุณภาพทัดเทียมนานาชาติ ชงภาครัฐเล็งเห็นความสำคัญ พร้อมอัดฉีด เพื่อผลักดันกำลังการผลิตเพื่อกองทัพไทย มุ่งสู่มาตรฐานเพื่อการส่งออกในอนาคต

เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2567 สมาคมอุตสาหกรรมเพื่อการป้องกันประเทศ (สอป.) นำโดยนายกสมาคมพล.อ.อ.มานัต วงษ์วาทย์ จัดสัมมนาหัวข้อ “ทิศทางอุตสาหกรรมเพื่อความมั่นคง เวหา พสุธา มหานที” ณ ห้องบอลลูม C โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ เซ็นทรัลเวิลด์ เป็นการรวมตัวของกองทัพ ภาครัฐ และเอกชน เพื่อหารือแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจของอุตสาหกรรมเพื่อความมั่นคง

โดยมี นายสุทิน คลังแสง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ให้เกียรติเป็นประธาน พร้อมด้วย นายวิโรจน์ ลักขณาอดิศร ประธานกรรมาธิการการทหารสภาผู้แทนราษฎร ร่วมวงเสวนาในครั้งนี้ ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความร่วมมือของภาครัฐและเอกชน

ตัวแทนจากเหล่าทัพ ขึ้นบรรยายวิสัยทัศน์ ความมั่นคงแห่งอนาคต อาทิ พล.อ.ดร.นพนันต์ ชั้นประดับ ผู้แทนกองทัพบก, พล.ร.อ.ก่อเกียรติ ปั้นดี อดีตผู้ทรงคุณวุฒิพิเศษกองทัพเรือ,พลอากาศตรี อนุรักษ์ รมณารักษ์ ผู้แทนกองทัพอากาศ และนายกฤศ จันทร์สุวรรณ รองผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจอุตสาหกรรม

ตัวแทนจากผู้ประกอบการ ร่วมกันแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ทิศทางอุตสาหกรรมเพื่อความมั่นคง เวหา พสุธา มหานที ครอบคลุมทุกประเภทอุตสาหกรรมความมั่นคง ทางอากาศ ทางบก และทางน้ำ โดยมีตัวแทน อาทิ คุณพีรพล ตระกูลช่างหัวหน้ากลุ่มด้านอุตสาหกรรมอากาศยานฯ ( ตัวแทน เวหา ), ดร.นพรัตน์ กุลหิรัญ หัวหน้ากลุ่มอุตสาหกรรมด้านยานต์ยนต์รบ สอป. ( ตัวแทน พสุธา ), ดร.อรรถสิทธิ์ กอชัยพฤกษ์ อุปนายกสมาคมอุตสาหกรรมต่อเรือ ( ตัวแทน มหานที ), ร่วมด้วย พล.อ.อ.ศิริพล ศิริทรัพย์ ประธานคลังสมอง วปอ.กลุ่มเศรษฐกิจ, ดร.ณัฐฎ์ ธีรณัฐสุภานนท์ นายกสภาสมาคมธรรมาภิบาล และ ดร.เมธวิน กิติคุณ กรรมการสภาดิจิตอลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งประเทศไทย

พล.อ.อ.มานัต นายกสมาคมอุตสาหกรรมเพื่อความกล่าวว่า “ความขัดแย้งสงครามที่กำลังปรากฏในหลายมุมโลก พบว่าอาวุธยุทโธปกรณ์เข้าขั้นขาดแคลน หลายประเทศแสวงหาพันธมิตรใหม่ๆร่วมกันผลิตอาวุธขึ้นมาให้เพียงพอ สภาพการณ์เช่นนี้ถือเป็นโอกาสดียิ่งของผู้ประกอบการไทย เรามีศักยภาพในการผลิตสร้างอาวุธยุทโธปกรณ์ตามมาตรฐานแห่งยุคสมัยบนเทคโนโลยีแหลมคมไม่แพ้ใคร พร้อมตอบสนองความต้องการของกำลังรบ 5 มิติ บก เรือ อากาศ ในอนาคตจะรวมไปถึงอวกาศ และไซเบอร์ ทั้งที่เป็นความต้องการของไทยและของตลาดโลก”

การสัมมนาครั้งนี้ จึงเป็นนิมิตหมายที่ดี ที่นำพาทุกภาคส่วนมาหารือ เป้าหมายในการสร้างเศรษฐกิจไทยให้มั่นคง จากการสนับสนุนของรัฐบาลที่จะจัดสรรงบประมาณ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการผลิตของผู้ประกอบการ รวมถึงผลักดันบุคคลากรภายในประเทศ เพื่อการเติบโตของอุตสาหกรรมความมั่นคง ที่ตั้งแต่อดีตจนปัจจุบัน จะเป็นการนำเข้าโดยส่วนใหญ่ จึงมีผลต่องบประมาณกองทัพ และส่งผลต่อภาพรวมเศรษฐกิจประเทศ การหารือในครั้งนี้จึงเปรียบเสมือนการเปิดประตูสู่อนาคต ที่สร้างความมั่นใจให้คนไทย ใช้ของไทย ตระหนักรู้ถึงหลัก “ไทยทำ ไทยใช้ ไทยมั่นคง”
ไทยทำ ไทยใช้ ไทยมั่นคง

ภายในงานมีการจัดแสดงผลงานของภาคเอกชนที่ให้การสนับสนุนการจัดงานครั้งนี้ได้แก่

มหานที
ผลงานสำคัญอุตสาหกรรมต่อเรือรบของไทย จาก บริษัท มาร์ซัน จำกัด ( มหาชน )

เรือหลวงแหลมสิงห์ (PGB-561) (อังกฤษ: HTMS Laemsing) เป็นเรือลำแรกและลำเดียวในเรือตรวจการณ์ปืนชุดเรือหลวงแหลมสิงห์[2] เป็นเรือที่ออกแบบและต่อขึ้นในประเทศไทย[3] และเป็นเรือตรวจการณ์ปืนลำใหม่ที่สุดในรอบเกือบ 20 ปี[4] สังกัดกองเรือตรวจอ่าว กองเรือยุทธการ

โครงการเรือหลวงแหลมสิงห์ เป็นโครงการเรือตรวจการณ์ปืนลำแรกและลำเดียวของประเทศไทยที่ได้รับการออกแบบและสร้างขึ้นโดยคนไทย ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงและแนวคิดการพึ่งพาตนเอง รวมถึงเป็นการพัฒนาขีดความสามารถของกรมอู่ทหารเรือในการต่อเรือตรวจการณ์ปืน หลังจากก่อนหน้านี้ประสบความสำเร็จในการต่อเรือตรวจการณ์ใกล้ฝั่งชุด เรือ ต.991 โดยออกแบบเรือตรวจการณ์ปืนชุดนี้ให้มีความสามารถในการปฏิบัติการได้ครบ 2 มิติ คือสงครามผิวน้ำ และสงครามต่อต้านอากาศยาน ซึ่งเป็นไปตามมาตรฐานของสมาคมจัดชั้นเรือ (Classification Society) ที่เป็นสมาชิกของ IACS (International Association of Classification Societies) ซึ่งเป็นมาตรฐานของกองทัพเรือสหรัฐ (U.S. Navy Criteria) หรือองค์การทางทะเลระหว่างประเทศ (International Maritime Organization: IMO)[3]

โครงการเรือหลวงแหลมสิงห์มีวัตถุประสงค์เพื่อทดแทนเรือตรวจการณ์ระยะปานกลาง ตามยุทธศาสตร์ของกองทัพเรือปี พ.ศ. 2551 – 2560 ซึ่งได้ทยอยปลดประจำการเรือรุ่นเก่า เป็นเรือที่ออกแบบโดยบริษัทของไทยเอง คือบริษัท มาร์ซัน จำกัด (มหาชน) และขายให้กับกองทัพเรือไทยในรูปแบบของ Package Deal วงเงิน 699,459,000 บาท ซึ่งกองทัพเรือได้มอบหมายให้กรมอู่ทหารเรือเป็นผู้ดำเนินการต่อเรือ

อีกทั้งยังมีเรือ LST รล.สุรินทร์ รล.สีชัง เรือตรวจการณ์ปืน ชุดเรือหลวงสัตหีบ ชุดเรือหลวงหัวหิน รล.กระบี่ รล.ประจวบคีรีขันธ์ OPV ล้วนต่อในประเทศไทยทั้งสิ้น

เวหา
อาร์วี คอนเน็กซ์ ก่อตั้งขึ้นในปี 2559 ในฐานะบริษัทของคนไทยที่ต้องการก้าวขึ้นเป็นผู้นำในอุตสาหกรรมป้องกันประเทศ อากาศยาน นำเสนอโซลูชั่นการสนับสนุนและบริการแบบบูรณาการสำหรับเครื่องบินหลากหลายประเภท โดยมีประสบการณ์ในการทำงานกับแพลตฟอร์มจำนวนมาก ทั้งแบบ manned และ unmanned (ไร้คนขับ) เราสามารถตอบสนองความต้องการความพร้อมในการปฏิบัติงานโดยการให้บริการที่หลากหลายสำหรับเครื่องบินซึ่งรวมถึง:การอัพเกรดอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์การบินสำหรับนักบินบนแพลตฟอร์มต่างๆ การปรับเปลี่ยนและติดตั้งของระบบ avionics และ mission systems A-Kit Productionออกแบบและบูรณาการระบบแบบ Special Mission การออกแบบและผลิตตามข้อกำหนด: MIL-STD ปัจจุบันมีพนักงานกว่า 420 คน ซึ่งมีทั้งวิศวกรและผู้เชี่ยวชาญทางเทคนิคระดับสูง เราให้ความสำคัญด้านการวิจัยและพัฒนาเพื่อสร้างนวัตกรรม และขีดความสามารถที่ยั่งยืนโดยฝีมือคนไทย ให้สามารถตอบสนองความต้องการของประเทศทั้งในภาครัฐและเอกชน รวมถึงภูมิภาคใกล้เคียง การวิจัยและพัฒนาของเรามุ่งเน้นไปที่นวัตกรรมเทคโนโลยีเชิงลึก
ATIL เป็นหนึ่งในผู้ให้บริการ UAV ชั้นนำในอุตสาหกรรมการป้องกันประเทศในประเทศไทย ATIL มีสำนักงานใหญ่ในกรุงเทพฯ และโรงงานผลิตแห่งใหม่ในเขตชานเมือง เรามีความกระตือรือร้นที่จะขยายการสนับสนุนไปยังตลาดต่างประเทศนอกเหนือจากประเทศไทย อากาศยานไร้คนขับ DP-6 เป็นอากาศยานไร้คนขับขนาดเล็กแบบบินขึ้นและบินลงทางดิ่ง (Small Vertical Take Off and Landing: Small VTOL UAV) แบบอัตโนมัติเต็มรูปแบบ (Fully Autonomous Take Off and Landing) โดยไม่จำเป็นที่จะต้องใช้สนามบินในการบินขึ้นและบินลง ปฏิบัติภารกิจได้ทั้งในเวลากลางวันและกลางคืน มีความกว้างของปีก 4.75 เมตร เพดานบินสูงสุด 15,000 ฟุต รัศมีปฏิบัติการไกลถึง 100 กิโลเมตร บินได้นาน 6 ชั่วโมง ควบคุมความแม่นยาในการบินด้วย INS/GPS ปฏิบัติการบินได้ในสภาพความเร็วลมระดับ 5 (ไม่เกิน 21 น๊อต)
บ.ซิสทรอนิกส์ จำกัด เป็นบริษัทคนไทยชั้นนำ มุ่งมั่นพัฒนาบริการ และเทคโนโลยีทางด้าน BIG DATA มากว่า 20 ปี ตอบรับความต้องการ ทั้งภาครัฐบาล และภาคเอกชนเพื่อก้าวสู่ยุค DIGITAL TRANSFORMATION อย่างเข้มแข็ง ผลิตภัณฑ์และการบริการได้แก่ โดรนหรืออากาศยานไร้คนขับแบบอัตโนมัติ สำหรับงานด้านข่าวกรอง ลาดตระเวน ตรวจพิสูจน์เป้าหมาย โดยจุดแข็งของเราคือการพัฒนาระบบนิเวศน์ด้านอากาศยานไร้คนขับอย่างครบวงจร มีโรงเรียนฝึกอบรมการบิน พัฒนาบุคคลากรด้านนักบิน พัฒนาองค์ความรู้ด้านการซ่อมบำรุง โดยปัจจุบันนับเป็นบริษัทอันดับต้น ๆ ของไทยที่หลายหน่วยงานชั้นนำได้ไว้วางใจใช้งาน
พสุธา
บริษัท ชัยเสรีเม็ททอลแอนด์รับเบอร์ จำกัด เป็นบริษัทผลิตอาวุธของไทย ที่อธิบายตัวเองว่าเป็น “ผู้เชี่ยวชาญด้านระบบป้องกันดินแดน” ชัยเสรีออกแบบ, ผลิต และอัปเกรดยานเกราะ ในระบบย่อย และระบบตีนตะขาบ นอกเหนือจากการเป็นผู้จัดหาให้กองทัพบกไทย บริษัทได้ทำการส่งออกไปยัง 37 ประเทศ ประกอบด้วยรัฐอาหรับหลายแห่ง, อาร์เจนตินา, บังกลาเทศ, ชิลี, เดนมาร์ก, มาเลเซีย, นอร์เวย์, ปากีสถาน, ฟิลิปปินส์, สวีเดน, รัสเซีย, สิงคโปร์ และยูเครน โดยมีรางวัลที่ได้รับ ได้แก่ ค.ศ. 2011 รางวัลการออกแบบยอดเยี่ยม ประเทศเดนมาร์ก สำหรับรถหุ้มเกราะเฟิร์สวิน 4×4 ของบริษัทชัยเสรี ค.ศ. 2015 รางวัลการส่งออกของนายกรัฐมนตรี แก่บริษัทชัยเสรี สำหรับ “แบรนด์ไทยยอดเยี่ยม” ตราสัญลักษณ์คุณภาพไทยแลนด์ (Thailand Trust Mark)
บริษัท WMI อุตสาหกรรมผลิตอาวุธ ผลิตอาวุธปืน โรงงานผลิตที่ลพบุรี ได้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตและ ได้ Combat Proven รับรองมาตรฐานสากล MIL-SPEC ของสหรัฐฯ มาตรฐาน NATO- STANAG ทั้งนี้บริษัท อุตสาหกรรมผลิตอาวุธ ได้ผลิตปืนหลายรุ่น เช่น ปืน MI 4 ปืนเล็กสั้นอัตโนมัติ แบบระบบระบายความร้อนด้วยแก๊สปืนเล็กสั้นอัตโนมัติแบบมาตรฐาน แข็งแรงทนทาน วางพื้นฐานอยู่ บนระบบอาวุธแบบ AR-15 ที่ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย และใช้งานจริงจากผู้ปฏิบัติการทั่วโลก เหมาะสำหรับการใช้งานทั่วไป ไปจนถึงปฏิบัติการพิเศษ ปืนMI 4P ปืนเล็กสั้นอัตโนมัติแบบก้านกระทุ้งช่วงสั้น Short Stroke Gas piston ที่ขึ้นชื่อเรื่องความทนทาน และขีดความสามารถต่อการปฏิบัติการในหลากหลายสภาพแวดล้อม รูปแบบของอาวุธยังคงเป็นพื้นฐานปฏิบัติการจาก A R-15 ทำให้ฝึกและทำความคุ้นเคยได้อย่างง่ายดาย
บริษัท เนแรค อาร์มส อินดัสตรี จำกัด เป็นโรงงานอาวุธเอกชนตาม พรบ.๒๕๕๐ ที่วิจัยพัฒนา ผลิต ซ่อมแซม ประกอบอุตสาหกรรมด้านการป้องกันประเทศให้มีความก้าวหน้า รวมทั้งต่อยอดนวัตกรรมที่ทันสมัย อาทิ ปืนใหญ่ขนาด 155 มิลลิเมตรอัตตาจรล้อยาง ที่ได้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีจากประเทศผู้ผลิต ปัจจุบันส่งมอบให้กับกองทัพบกและกองทัพเรือนำไปทอสอบเพื่อใช้จริง ปืนใหญ่ขนาด 105 มิลลิเมตรอัตตาจรรอยาง ทำการผลิตขึ้นเองทั้งระบบกระบอก เครื่องยิงลูกระเบิดขนาด 120 มิลลิเมตรอัตราจรล้อยางได้วิจัยร่วมกับมิตรประเทศ ระบบดึงอัตโนมัติการผลิตกระสุนปืนใหญ่ ขนาด 105 และ 155 มิลลิเมตรแบบออโตเมชั่น โครงการวิจัย และพัฒนาปืนเล็กยาว ขนาด 5.56 มิลลิเมตร และปืนพกขนาด 11 มม. เพื่อเป็นปืนต้นแบบใช้ในกระทรวงกลาโหม อุตสาหกรรมชนวนท้าย สำหรับกระสุนปืน (Ammunition primer)

การสัมมนา “Symposium Future in The AIR LAND SEA
เวหา พสุธา มหานที “

โดยสมาคมอุตสาหกรรมเพื่อการป้องกันประเทศ (สอป.)
วันที่ 27 กพ.2567 ห้องบอลรูม โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ เซ็นทรัลเวิร์ล
ท่านสุทิน คลังแสง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมเป็นประธาน

จะปลดล็อกอุตสาหกรรมเพื่อความมั่นคงของชาติ
สู่การสร้างห่วงโซ่ทางเศรษฐกิจได้อย่างไร ?

WMI และ NRC โอกาสปืนไทย Made in Thailand
“ก้าวเล็กเริ่มจากปืนเล็กแต่สำคัญ
อนาคตสู่การพัฒนาอาวุธปืนขนาดใหญ่”

“ความก้าวหน้าของกลุ่มอุตสาหกรรมทาง Land”
INDSA Symposium 27/2/67 8.00 – 13.30 น.
ชั้น 23 โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ เซ็นทรัลเวิลด์ (ปทุมวัน)

แผนต่อไปต้องบูรณาการกับอุตสาหกรรมอื่น
เช่น อากาศยาน เรือรบ ยานต์ยนต์รบ เป็นต้น

ข่าวประชาสัมพันธ์ (Press Release)

งานสัมมนา ทิศทางอุตสาหกรรมเพื่อความมั่นคง 2567

วันอังคารที่ 27 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 08.00 – 12.00 น.

ณ ห้องบอลลูม C โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ เซ็นทรัลเวิลด์

 

“ไทยทำ ไทยใช้ ไทยมั่นคง” ส่องทิศทางอุตสาหกรรมเพื่อความมั่นคง ผนึก 3 กำลัง กองทัพ รัฐบาล และภาคเอกชน หวังพลิกอุตสาหกรรมและเศรษฐกิจประเทศ ภาคเอกชนมั่นใจศักยภาพการผลิต คุณภาพทัดเทียมนานาชาติ ชงภาครัฐเล็งเห็นความสำคัญ พร้อมอัดฉีด เพื่อผลักดันกำลังการผลิตเพื่อกองทัพไทย มุ่งสู่มาตรฐานเพื่อการส่งออกในอนาคต 

 

เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2567 สมาคมอุตสาหกรรมเพื่อการป้องกันประเทศ (สอป.) นำโดยนายกสมาคมพล.อ.อ.มานัต วงษ์วาทย์ จัดสัมมนาหัวข้อ “ทิศทางอุตสาหกรรมเพื่อความมั่นคง เวหา พสุธา มหานที” ณ  ห้องบอลลูม C โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ เซ็นทรัลเวิลด์ เป็นการรวมตัวของกองทัพ ภาครัฐ และเอกชน เพื่อหารือแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจของอุตสาหกรรมเพื่อความมั่นคง 

 

โดยมี นายสุทิน คลังแสง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ให้เกียรติเป็นประธาน พร้อมด้วย นายวิโรจน์ ลักขณาอดิศร ประธานกรรมาธิการการทหารสภาผู้แทนราษฎร ร่วมวงเสวนาในครั้งนี้ ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความร่วมมือของภาครัฐและเอกชน 

 

ตัวแทนจากเหล่าทัพ ขึ้นบรรยายวิสัยทัศน์ ความมั่นคงแห่งอนาคต อาทิ พล.อ.ดร.นพนันต์ ชั้นประดับ ผู้แทนกองทัพบก, พล.ร.อ.ก่อเกียรติ ปั้นดี อดีตผู้ทรงคุณวุฒิพิเศษกองทัพเรือ,พลอากาศตรี อนุรักษ์  รมณารักษ์ ผู้แทนกองทัพอากาศ และนายกฤศ จันทร์สุวรรณ รองผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจอุตสาหกรรม

 

ตัวแทนจากผู้ประกอบการ ร่วมกันแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ทิศทางอุตสาหกรรมเพื่อความมั่นคง เวหา พสุธา มหานที ครอบคลุมทุกประเภทอุตสาหกรรมความมั่นคง ทางอากาศ ทางบก และทางน้ำ โดยมีตัวแทน อาทิ คุณพีรพล ตระกูลช่างหัวหน้ากลุ่มด้านอุตสาหกรรมอากาศยานฯ ( ตัวแทน เวหา ), ดร.นพรัตน์ กุลหิรัญ หัวหน้ากลุ่มอุตสาหกรรมด้านยานต์ยนต์รบ สอป. ( ตัวแทน พสุธา ), ดร.อรรถสิทธิ์ กอชัยพฤกษ์ อุปนายกสมาคมอุตสาหกรรมต่อเรือ ( ตัวแทน มหานที ), ร่วมด้วย พล.อ.อ.ศิริพล ศิริทรัพย์ ประธานคลังสมอง วปอ.กลุ่มเศรษฐกิจ, ดร.ณัฐฎ์ ธีรณัฐสุภานนท์ นายกสภาสมาคมธรรมาภิบาล และ ดร.เมธวิน กิติคุณ กรรมการสภาดิจิตอลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งประเทศไทย

 

พล.อ.อ.มานัต นายกสมาคมอุตสาหกรรมเพื่อความกล่าวว่า “ความขัดแย้งสงครามที่กำลังปรากฏในหลายมุมโลก พบว่าอาวุธยุทโธปกรณ์เข้าขั้นขาดแคลน   หลายประเทศแสวงหาพันธมิตรใหม่ๆร่วมกันผลิตอาวุธขึ้นมาให้เพียงพอ   สภาพการณ์เช่นนี้ถือเป็นโอกาสดียิ่งของผู้ประกอบการไทย   เรามีศักยภาพในการผลิตสร้างอาวุธยุทโธปกรณ์ตามมาตรฐานแห่งยุคสมัยบนเทคโนโลยีแหลมคมไม่แพ้ใคร   พร้อมตอบสนองความต้องการของกำลังรบ 5 มิติ บก  เรือ อากาศ  ในอนาคตจะรวมไปถึงอวกาศ และไซเบอร์ ทั้งที่เป็นความต้องการของไทยและของตลาดโลก”

 

การสัมมนาครั้งนี้ จึงเป็นนิมิตหมายที่ดี ที่นำพาทุกภาคส่วนมาหารือ เป้าหมายในการสร้างเศรษฐกิจไทยให้มั่นคง จากการสนับสนุนของรัฐบาลที่จะจัดสรรงบประมาณ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการผลิตของผู้ประกอบการ รวมถึงผลักดันบุคคลากรภายในประเทศ เพื่อการเติบโตของอุตสาหกรรมความมั่นคง ที่ตั้งแต่อดีตจนปัจจุบัน จะเป็นการนำเข้าโดยส่วนใหญ่ จึงมีผลต่องบประมาณกองทัพ และส่งผลต่อภาพรวมเศรษฐกิจประเทศ การหารือในครั้งนี้จึงเปรียบเสมือนการเปิดประตูสู่อนาคต ที่สร้างความมั่นใจให้คนไทย ใช้ของไทย ตระหนักรู้ถึงหลัก “ไทยทำ ไทยใช้ ไทยมั่นคง”

ไทยทำ ไทยใช้ ไทยมั่นคง

 

ภายในงานมีการจัดแสดงผลงานของภาคเอกชนที่ให้การสนับสนุนการจัดงานครั้งนี้ได้แก่

 

มหานที

ผลงานสำคัญอุตสาหกรรมต่อเรือรบของไทย จาก บริษัท มาร์ซัน จำกัด ( มหาชน )

 

เรือหลวงแหลมสิงห์ (PGB-561) (อังกฤษ: HTMS Laemsing) เป็นเรือลำแรกและลำเดียวในเรือตรวจการณ์ปืนชุดเรือหลวงแหลมสิงห์[2] เป็นเรือที่ออกแบบและต่อขึ้นในประเทศไทย[3] และเป็นเรือตรวจการณ์ปืนลำใหม่ที่สุดในรอบเกือบ 20 ปี[4] สังกัดกองเรือตรวจอ่าว กองเรือยุทธการ

 

โครงการเรือหลวงแหลมสิงห์ เป็นโครงการเรือตรวจการณ์ปืนลำแรกและลำเดียวของประเทศไทยที่ได้รับการออกแบบและสร้างขึ้นโดยคนไทย ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงและแนวคิดการพึ่งพาตนเอง รวมถึงเป็นการพัฒนาขีดความสามารถของกรมอู่ทหารเรือในการต่อเรือตรวจการณ์ปืน หลังจากก่อนหน้านี้ประสบความสำเร็จในการต่อเรือตรวจการณ์ใกล้ฝั่งชุด เรือ ต.991 โดยออกแบบเรือตรวจการณ์ปืนชุดนี้ให้มีความสามารถในการปฏิบัติการได้ครบ 2 มิติ คือสงครามผิวน้ำ และสงครามต่อต้านอากาศยาน ซึ่งเป็นไปตามมาตรฐานของสมาคมจัดชั้นเรือ (Classification Society) ที่เป็นสมาชิกของ IACS (International Association of Classification Societies) ซึ่งเป็นมาตรฐานของกองทัพเรือสหรัฐ (U.S. Navy Criteria) หรือองค์การทางทะเลระหว่างประเทศ (International Maritime Organization: IMO)[3]

 

โครงการเรือหลวงแหลมสิงห์มีวัตถุประสงค์เพื่อทดแทนเรือตรวจการณ์ระยะปานกลาง ตามยุทธศาสตร์ของกองทัพเรือปี พ.ศ. 2551 – 2560 ซึ่งได้ทยอยปลดประจำการเรือรุ่นเก่า เป็นเรือที่ออกแบบโดยบริษัทของไทยเอง คือบริษัท มาร์ซัน จำกัด (มหาชน) และขายให้กับกองทัพเรือไทยในรูปแบบของ Package Deal วงเงิน 699,459,000 บาท ซึ่งกองทัพเรือได้มอบหมายให้กรมอู่ทหารเรือเป็นผู้ดำเนินการต่อเรือ

 

อีกทั้งยังมีเรือ LST รล.สุรินทร์ รล.สีชัง เรือตรวจการณ์ปืน ชุดเรือหลวงสัตหีบ ชุดเรือหลวงหัวหิน รล.กระบี่ รล.ประจวบคีรีขันธ์ OPV ล้วนต่อในประเทศไทยทั้งสิ้น

 

เวหา

อาร์วี คอนเน็กซ์ ก่อตั้งขึ้นในปี 2559 ในฐานะบริษัทของคนไทยที่ต้องการก้าวขึ้นเป็นผู้นำในอุตสาหกรรมป้องกันประเทศ อากาศยาน นำเสนอโซลูชั่นการสนับสนุนและบริการแบบบูรณาการสำหรับเครื่องบินหลากหลายประเภท โดยมีประสบการณ์ในการทำงานกับแพลตฟอร์มจำนวนมาก ทั้งแบบ manned และ unmanned (ไร้คนขับ) เราสามารถตอบสนองความต้องการความพร้อมในการปฏิบัติงานโดยการให้บริการที่หลากหลายสำหรับเครื่องบินซึ่งรวมถึง:การอัพเกรดอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์การบินสำหรับนักบินบนแพลตฟอร์มต่างๆ การปรับเปลี่ยนและติดตั้งของระบบ avionics และ mission systems A-Kit Productionออกแบบและบูรณาการระบบแบบ Special Mission การออกแบบและผลิตตามข้อกำหนด: MIL-STD ปัจจุบันมีพนักงานกว่า 420 คน ซึ่งมีทั้งวิศวกรและผู้เชี่ยวชาญทางเทคนิคระดับสูง เราให้ความสำคัญด้านการวิจัยและพัฒนาเพื่อสร้างนวัตกรรม และขีดความสามารถที่ยั่งยืนโดยฝีมือคนไทย ให้สามารถตอบสนองความต้องการของประเทศทั้งในภาครัฐและเอกชน รวมถึงภูมิภาคใกล้เคียง การวิจัยและพัฒนาของเรามุ่งเน้นไปที่นวัตกรรมเทคโนโลยีเชิงลึก

ATIL เป็นหนึ่งในผู้ให้บริการ UAV ชั้นนำในอุตสาหกรรมการป้องกันประเทศในประเทศไทย ATIL มีสำนักงานใหญ่ในกรุงเทพฯ และโรงงานผลิตแห่งใหม่ในเขตชานเมือง เรามีความกระตือรือร้นที่จะขยายการสนับสนุนไปยังตลาดต่างประเทศนอกเหนือจากประเทศไทย อากาศยานไร้คนขับ DP-6 เป็นอากาศยานไร้คนขับขนาดเล็กแบบบินขึ้นและบินลงทางดิ่ง (Small Vertical Take Off and Landing: Small VTOL UAV) แบบอัตโนมัติเต็มรูปแบบ (Fully Autonomous Take Off and Landing) โดยไม่จำเป็นที่จะต้องใช้สนามบินในการบินขึ้นและบินลง ปฏิบัติภารกิจได้ทั้งในเวลากลางวันและกลางคืน มีความกว้างของปีก 4.75 เมตร เพดานบินสูงสุด 15,000 ฟุต รัศมีปฏิบัติการไกลถึง 100 กิโลเมตร บินได้นาน 6 ชั่วโมง ควบคุมความแม่นยาในการบินด้วย INS/GPS ปฏิบัติการบินได้ในสภาพความเร็วลมระดับ 5 (ไม่เกิน 21 น๊อต)

บ.ซิสทรอนิกส์ จำกัด เป็นบริษัทคนไทยชั้นนำ มุ่งมั่นพัฒนาบริการ และเทคโนโลยีทางด้าน BIG DATA มากว่า 20 ปี ตอบรับความต้องการ ทั้งภาครัฐบาล และภาคเอกชนเพื่อก้าวสู่ยุค DIGITAL TRANSFORMATION อย่างเข้มแข็ง ผลิตภัณฑ์และการบริการได้แก่ โดรนหรืออากาศยานไร้คนขับแบบอัตโนมัติ สำหรับงานด้านข่าวกรอง ลาดตระเวน ตรวจพิสูจน์เป้าหมาย โดยจุดแข็งของเราคือการพัฒนาระบบนิเวศน์ด้านอากาศยานไร้คนขับอย่างครบวงจร มีโรงเรียนฝึกอบรมการบิน พัฒนาบุคคลากรด้านนักบิน พัฒนาองค์ความรู้ด้านการซ่อมบำรุง โดยปัจจุบันนับเป็นบริษัทอันดับต้น ๆ ของไทยที่หลายหน่วยงานชั้นนำได้ไว้วางใจใช้งาน

พสุธา
บริษัท ชัยเสรีเม็ททอลแอนด์รับเบอร์ จำกัด เป็นบริษัทผลิตอาวุธของไทย ที่อธิบายตัวเองว่าเป็น “ผู้เชี่ยวชาญด้านระบบป้องกันดินแดน” ชัยเสรีออกแบบ, ผลิต และอัปเกรดยานเกราะ ในระบบย่อย และระบบตีนตะขาบ นอกเหนือจากการเป็นผู้จัดหาให้กองทัพบกไทย บริษัทได้ทำการส่งออกไปยัง 37 ประเทศ ประกอบด้วยรัฐอาหรับหลายแห่ง, อาร์เจนตินา, บังกลาเทศ, ชิลี, เดนมาร์ก, มาเลเซีย, นอร์เวย์, ปากีสถาน, ฟิลิปปินส์, สวีเดน, รัสเซีย, สิงคโปร์ และยูเครน โดยมีรางวัลที่ได้รับ ได้แก่ ค.ศ. 2011 รางวัลการออกแบบยอดเยี่ยม ประเทศเดนมาร์ก สำหรับรถหุ้มเกราะเฟิร์สวิน 4×4 ของบริษัทชัยเสรี ค.ศ. 2015 รางวัลการส่งออกของนายกรัฐมนตรี แก่บริษัทชัยเสรี สำหรับ “แบรนด์ไทยยอดเยี่ยม” ตราสัญลักษณ์คุณภาพไทยแลนด์ (Thailand Trust Mark)

บริษัท WMI อุตสาหกรรมผลิตอาวุธ ผลิตอาวุธปืน โรงงานผลิตที่ลพบุรี ได้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตและ ได้ Combat Proven รับรองมาตรฐานสากล MIL-SPEC ของสหรัฐฯ มาตรฐาน NATO- STANAG ทั้งนี้บริษัท อุตสาหกรรมผลิตอาวุธ ได้ผลิตปืนหลายรุ่น เช่น ปืน MI 4 ปืนเล็กสั้นอัตโนมัติ แบบระบบระบายความร้อนด้วยแก๊สปืนเล็กสั้นอัตโนมัติแบบมาตรฐาน แข็งแรงทนทาน วางพื้นฐานอยู่ บนระบบอาวุธแบบ AR-15 ที่ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย และใช้งานจริงจากผู้ปฏิบัติการทั่วโลก เหมาะสำหรับการใช้งานทั่วไป ไปจนถึงปฏิบัติการพิเศษ ปืนMI 4P ปืนเล็กสั้นอัตโนมัติแบบก้านกระทุ้งช่วงสั้น Short Stroke Gas piston ที่ขึ้นชื่อเรื่องความทนทาน และขีดความสามารถต่อการปฏิบัติการในหลากหลายสภาพแวดล้อม รูปแบบของอาวุธยังคงเป็นพื้นฐานปฏิบัติการจาก A R-15 ทำให้ฝึกและทำความคุ้นเคยได้อย่างง่ายดาย

บริษัท เนแรค อาร์มส อินดัสตรี จำกัด เป็นโรงงานอาวุธเอกชนตาม พรบ.๒๕๕๐ ที่วิจัยพัฒนา ผลิต ซ่อมแซม ประกอบอุตสาหกรรมด้านการป้องกันประเทศให้มีความก้าวหน้า รวมทั้งต่อยอดนวัตกรรมที่ทันสมัย อาทิ  ปืนใหญ่ขนาด 155 มิลลิเมตรอัตตาจรล้อยาง ที่ได้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีจากประเทศผู้ผลิต ปัจจุบันส่งมอบให้กับกองทัพบกและกองทัพเรือนำไปทอสอบเพื่อใช้จริง ปืนใหญ่ขนาด 105 มิลลิเมตรอัตตาจรรอยาง ทำการผลิตขึ้นเองทั้งระบบกระบอก เครื่องยิงลูกระเบิดขนาด 120 มิลลิเมตรอัตราจรล้อยางได้วิจัยร่วมกับมิตรประเทศ ระบบดึงอัตโนมัติการผลิตกระสุนปืนใหญ่ ขนาด 105 และ 155 มิลลิเมตรแบบออโตเมชั่น โครงการวิจัย และพัฒนาปืนเล็กยาว ขนาด 5.56 มิลลิเมตร และปืนพกขนาด 11 มม. เพื่อเป็นปืนต้นแบบใช้ในกระทรวงกลาโหม  อุตสาหกรรมชนวนท้าย สำหรับกระสุนปืน (Ammunition primer)

 

 

 

สแกน QR เพื่อโหลดไฟล์ต้นฉบับ

เพื่อโหลดภาพโปสเตอร์

“สอป. จับมือ JUSMAG”

รายงานการประชุม
INDSA DIU JUSMAG
12.02.2024

โดย Lieutenant Colonel Alex Goldberg ได้แนะนำองค์กร The Defense Innovation Unit (DIU)ซึ่งถือเป็นองค์กรในกลาโหมสหรัฐที่มุ่งเน้นการนำเทคโนโลยีเชิงพาณิชย์ออกมาใช้ทางทหารทั่วทุกเหล่าทัพสหรัฐได้อย่างมีประสิทธิภาพและรวดเร็วตามมาตรฐานในเชิงการค้า
DIU ร่วมกับองค์กรต่าง ๆ ในกลาโหมสหรัฐ (DoD) เพื่อพัฒนาต้นแบบอุปกรณ์ให้มีขีดความสามารถที่ใช้ได้ทั้งทางภาคทหารและภาคธุรกิจ ที่จะสามารถแก้ปัญหาด้านการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพและรวดเร็ว โดยสำนักงานตั้งอยู่ในซิลิคอนวัลเลย์, บอสตัน, ออสติน, ชิคาโก และภายในเพทากอน, DIU ถือเป็นประตูเข้าสู่บริษัทเทคโนโลยีชั้นนำทั่วสหรัฐ
เนื่องจากความต้องการใช้ผลิตภัณฑ์ด้านDefense มีมากขึ้น ปัจจุบันจึงเริ่มมีการเปิดรับพันธมิตรจากนานาประเทศ เพื่อคัดสรรผู้ประกอบการด้าน Defense and Security ที่มีขีดความสามารถทางการผลิตในต้นทุนที่ราคาถูกกว่า ผลิตได้เร็วกว่า คุณภาพดีกว่า โดยไม่จำเป็นต้องใช้ MIL-STD เป็นบรรทัดฐาน โดยจะนำมาปรับใช้ร่วมกันกับเทคโนโลยีที่ทางสหรัฐมี และ/หรือ จะได้รับการพิจารณาในการร่วมทุนในอนาคต
เนื่องจากไทยได้รับสิทธิพิเศษในการมีสถานภาพเป็นพันธมิตรนอกนาโต้ MNNA Status การพิจารณาด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอาจทำได้ง่ายขึ้นและถือเป็นการเปิดโอกาสให้ผลิตภัณฑ์จากประเทศไทยมีโอกาสทางการค้ากับสหรัฐมากขึ้นในอุตสาหกรรมด้านนี้

JUSMAGTHAI โดย Lieutenant Colonel Joel M Johnson ได้พูดคุยหารือกับท่านนายกสมาคม ในการนำเสนอ Show case ของสมาชิกในการฝึกCobra Gold ประจำปี ซึ่งมีแผนจัดทำในปี 2025

เพิ่มเติม หากสมาชิกท่านใดสนใจในองค์กร DIU สามารถสืบค้นข้อมูลเพิ่มเติมได้จาก เว็บไซท์
https://www.diu.mil/

สมาคมอุตสาหกรรมเพื่อการป้องกันประเทศ (สอป.)
Industry for National Defense and Security Association (INDSA)⚙️🇹🇭💡✨
https://goo.gl/maps/PBn3eJSfphgD8Fj9A
ที่อยู่ Address: 70/1 ซอยประวิทย์และเพื่อน ถนนประชาชื่น แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กทม. 10900
(ชั้น 2 อาคารสมาคมนักเรียนเก่าอำนวยศิลป์)
โทรศัพท์ Phone: 064-245-4352 ,097-174-9555
⚙️🇹🇭💡✨
เบอร์มือถือนิติบุคคล สอป. 📞⚙️📲
อีเมลล์ Email: indsa.info@gmail.com
เว็บไซต์ Website : www.indsa.org
รหัสนิติบุคคลผู้เสียภาษี ID: 099-3-00039665-1

โปรดแจ้งความประสงค์สมัครสมาชิกใหม่ สอป. (INDSA Members) หรือ ร่วมเป็น INDSA Partners
มาได้ที่ อีเมลล์ indsa.info@gmail.com 📞📲⚙️097-174-9555 ขอบพระคุณค่ะ
หรือ เข้าเยี่ยมชมเว็บไซต์ของเรา www.indsa.org⚙️💡

 รายชื่อบริษัทที่ยืนยันร่วมเป็น
สปอนเซอร์การจัดงาน

1.บ.มาร์ซัน
2.บ.ซิสทรอนิกส์
3.บ.สหพิพัฒน์ธนกิจ
4.บ.EV Szchekter
5.บ.ชัยเสรี
6.บ.ช ไพศาล
7.บ.ATIL
8.บ.SDA Group
9.บ.RV Conect
10.สมาคมไทยซับคอน + บ.ดีต้าร์สเปเชี่ยลทูลส์
14:11 Sahat KPI (HS1EK) @All
ขอเชิญท่านร่วมการประชุมการจัดสัมมนา A-L-S (ประชุมเตรียมการครั้งที่ 2)

ออนไลน์ในวันพฤหัสที่ 15 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 11.00 น.
(ห้องประชุมเปิดเวลา 10.50 น.)

รายละเอียดเรื่อง
Sequence
– พิธีเปิด สคริป press release
– SS 1-3 คำถาม แนวทางตอบ
จำนวนวิทยากร(ระบุชื่อ) ชื่อพิธีกร เวลาบนเวที
– ผังการจัดงาน ผังบูธ การตบแต่ง จุดถ่ายภาพ Backdrop
จุดลงทะเบียน หรืออื่น ๆ เช่น ช่างภาพ บันทึกเทปวิดิโอ ฟุตเทจ

ครับผม

Click the following link to join the meeting:
https://meet.jit.si/ScienceGroup

ขอบคุณครับ

 

การสัมมนา Symposium Future in The AIR LAND SEA
เวหา พสุธา มหานที
โดยสมาคมอุตสาหกรรมเพื่อการป้องกันประเทศ (สอป.)
วันที่ 27 กพ.2567 ห้องบอลรูม โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ เซ็นทรัลเวิร์ล

SS 1 (9.30 – 10.00 น.)
หัวข้อแนวทางคำถาม
” บทบาทของหน่วยงานท่านต่อการส่งเสริมอุตสาหกรรมเพื่อความมั่นคงของประเทศไทย”
ลำดับที่ 1 พลเอกทรงวิทย์ หนุนภักดี ผู้บัญชาการทหารสูงสุด
ลำดับที่ 2 นางวรวรรณ ชิดอรุณ ผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจอุตสาหกรรม
ลำดับที่ 3 ผู้แทน ทบ.
ลำดับที่ 4 ผู้แทน ทร.
ลำดับที่ 5 ผู้แทน ทอ.
(ท่านละ 5 นาที)

SS 2 (10.15 – 11.30 น.)
หัวข้อแนวทางคำถาม
“จะปลดล็อคให้อุตสาหกรรมความมั่นคง สร้างห่วงโซ่เศรษฐกิจใหม่อย่างยั่งยืนอย่างไร”
ลำดับที่ 1 คุณวิโรจน์ ลักขณาอดิศร ประธานกรรมาธิการการทหารสภาผู้แทนราษฎร
ลำดับที่ 2 พล.อ.อ.มานัต วงษ์วาทย์ นายกสมาคมอุตสาหกรรมเพื่อการป้องกันประเทศ
ลำดับที่ 3 พล.อ.อ.ศิริพล ศิริทรัพย์ ประธานคลังสมอง วปอ.กลุ่มเศรษฐกิจ
ลำดับที่ 4 พลเอกอภิชิต กานตรัตน์ หัวหน้ากลุ่มอุตสาหกรรมอากาศยาน
นายกานต์ กุลหิรัญ หัวหน้ากลุ่มยานต์รบ ยานต์ช่วยรบ
ดร.อรรถสิทธิ์ กอชัยพฤกษ์ อุปนายกสมาคมอุตสาหกรรมต่อเรือ
ลำดับที่ 5 นายก สอป.พรบ.ส่งเสริมและกำกับอุตสาหกรรมเพื่อความมั่นคง
(ท่านละ 7 นาที)

SS 3 (11.30 – 12.30 น.)
แลกเปลี่ยนประเด็นระหว่างพิธีกร กับแขกในงานทั้งหมด

เรื่อง ขอเชิญท่านร่วมเป็นผู้สนับสนุน

งานสัมมนาทิศทางอุตสาหกรรมเพื่อความมั่นคง
เวหา พสุธา มหานที / SYMPOSIUM 2024 FUTURE in the AIR - LAND –SEA

เรียน ท่านสมาชิก สอป.
สิ่งที่ส่งมาด้วย
๑. กำหนดการงานสัมมนา
๒. หนังสือตอบรับ

นายสุทิน คลังแสง ท่านรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม
ให้เกรียติมาเป็นประธานเปิดงานครั้งนี้
ด้วยสมาคมอุตสาหกรรมเพื่อการป้องกันประเทศ (สอป.)
จัดงานสัมมนาในภาคอุตสาหกรรมความมั่นคงของประเทศ อันเป็นความสำคัญและจำเป็นเร่งด่วนเนื่องจากความเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของสภาพแวดล้อมของโลกซึ่งประเทศไทยของเราต้องพลิกผันตัวเองภายใต้การระดมความคิดเกี่ยวกับอุตสาหกรรมเพื่อความมั่นคงและการสร้างภูมิคุ้มกันของชาติใน ๓ปัจจัยหลัก : ๑)กำลังรบ ๒)สรรพกำลัง ๓)ห่วงโซ่เศรษฐกิจ ตั้งแต่ต้นน้ำสู่ปลายน้ำครบวงจรได้อย่างยั่งยืนทั้ง ๓ มิติ ตามชื่องานอุตสาหกรรมเพื่อความมั่นคง ๒๕๖๗ เวหา พสุธา มหานที

สมาคมจึงใคร่ขอใช้โอกาสนี้เชิญท่านเข้าร่วมเป็นผู้สนับสนุน “งานสัมมนาอุตสาหกรรมเพื่อความมั่นคง เวหา พสุธา มหานที / Future in the Air - Land - Sea” ในวันที่ ๒๗ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๖๗ เวลา ๐๘.๐๐ น. – ๑๓.๓๐ น. ณ โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์และบางกอกคอนเวนชันเซ็นเตอร์ เซ็นทรัลเวิลด์

โดยในการนี้ผู้สนับสนุนจะได้สิทธิดังนี้
1. ออกบูธขนาดประมาณ 2x 3 เมตร
2. หน่วยงานสำคัญร่วมชมนิทรรศการ (รายชื่อตามแนบ)
3. ติดสปอนเซอร์โลโก้บนแบ็คดร็อปหลักในงาน
4. ให้สิทธิบันทึกภาพวิดิโอ เพื่อไปประชาสัมพันธ์ต่อ
5. ร่วมรับประทานอาหารเที่ยง
6. พบสื่อมวลชนชั้นนำกว่า 10 สื่อ
จำนวนบูธไม่เกิน 10 บูธเท่านั้น

ขอขอบคุณท่านล่วงหน้ามา ณ โอกาสนี้
ทั้งนี้ สมาคมได้มอบหมาย นายภาณุพันธ์ โภคามาศ
เลขานุการ สอป. โทรศัพท์ ๐๙๕ ๙๔๘ ๗๕๒๒ เป็นผู้ประสานงานโดยตรง

และขอขอบพระคุณในความอนุเคราะห์เป็นการล่วงหน้า

หัวข้อเสวนา
“งานแสดงเทคโนโลยีและอุตสาหกรรมป้องกันประเทศ ครั้งที่ ๑”
โดยสมาคมอุตสาหกรรมเพื่อการป้องกันประเทศ (สอป.)
ร่วมสนับสนุนโดย กรมวิทยาสตร์และเทคโนโลยีกลาโหม
กระทรวงกลาโหม ,สถานีวิทยุและโทรทัศน์กองทัพบกช่อง ๕ และสมาคมไทยซับคอน
วันที่ ๒๐ – ๒๑ มีนาคม ๒๕๖๖ ณ ททบ.๕ (สนามเป้า)

๑. การสร้างโอกาสและบูรณาการความร่วมมือทุกภาคส่วน ร่วมกำหนดทิศทางการพัฒนา อุตสาหกรรมป้องกันประเทศของไทย สู่การเป็นผู้นำในการเป็นฐานการผลิตชิ้นส่วนใหญ่แห่งอาเซียน เพื่อเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจและความมั่นคงอย่างยั่งยืน

๒. ถอดรหัสอุตสาหกรรมป้องกันประเทศของไทย กำเนิดห่วงโซ่เศรษฐกิจใหม่ บนพื้นฐานเศรษฐกิจ และความมั่นคงอย่างยั่งยืน

๓. วิศวกรรมและนวัตกรรมจะช่วยยกระดับศักยภาพ เสถียรภาพ และความปลอดภัยของการป้องกันประเทศได้อย่างไร

๔. ทิศทางการสนับสนุนและความร่วมมือของ BOI (Board of
Investment) สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน แก่ผู้ประกอบการด้านอุตสาหกรรมป้องกันประเทศของไทย

๕. การเสวนา หัวข้อ Psychological Operations (Psyops) การสงครามจิตวิทยา (Psychological warfare) – Psy Ops and Cyber Warfare ปฏิบัติการจิตวิทยาที่อยู่ในพื้นที่ไซเบอร์

๖. ผลประโยชน์และความพร้อมของผู้ประกอบการไทย, การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีแบบสองทาง (Dual-use), การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีอุตสาหกรรมป้องกันประเทศ
ในการสร้าง Smart City เมืองอัจฉริยะ

๗. Cyber Threat ภัยคุกคามความมั่นคงของชาติ

๘. แนวคิดเชิงบูรณาการอุตสาหกรรมป้องกันประเทศ
จากมุมมองนักวิชาการ ร่วมกับ วิสัยทัศน์ผู้นำธุรกิจยุคใหม่ของอุตสาหกรรมป้องกันประเทศไทย

ขอบคุณครับ

TDIS 2023 เสวนาหัวข้อ 4 ทิศทางการสนับสนุนของ BOI ต่อภาคอุตสาหกรรมป้องกันประเทศของไทย

“งานแสดงเทคโนโลยีและอุตสาหกรรมป้องกันประเทศ ครั้งที่ ๑”
โดยสมาคมอุตสาหกรรมเพื่อการป้องกันประเทศ (สอป.)
ร่วมสนับสนุนโดย กรมวิทยาสตร์และเทคโนโลยีกลาโหม
กระทรวงกลาโหม ,สถานีวิทยุและโทรทัศน์กองทัพบกช่อง ๕ และสมาคมไทยซับคอน
วันที่ ๒๐ – ๒๑ มีนาคม ๒๕๖๖ ณ ททบ.๕ (สนามเป้า)

ทิศทางการสนับสนุนและความร่วมมือของ BOI(Board of
Investment) สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน แก่ผู้ประกอบการด้านอุตสาหกรรมป้องกันประเทศของไทย

TDIS 2023 เสวนาหัวข้อ 5 Psychological Operations (Psyops) การสงครามจิตวิทยา (Psychological warfare)

“งานแสดงเทคโนโลยีและอุตสาหกรรมป้องกันประเทศ ครั้งที่ ๑”
โดยสมาคมอุตสาหกรรมเพื่อการป้องกันประเทศ (สอป.)
ร่วมสนับสนุนโดย กรมวิทยาสตร์และเทคโนโลยีกลาโหม
กระทรวงกลาโหม ,สถานีวิทยุและโทรทัศน์กองทัพบกช่อง ๕ และสมาคมไทยซับคอน
วันที่ ๒๐ – ๒๑ มีนาคม ๒๕๖๖ ณ ททบ.๕ (สนามเป้า)

การเสวนา หัวข้อ Psychological Operations (Psyops) การสงครามจิตวิทยา (Psychological warfare) – Psy Ops and Cyber Warfare ปฏิบัติการจิตวิทยาที่อยู่ในพื้นที่ไซเบอร์

TDIS 2023 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีแบบสองทาง (Dual-use) ในอุตสาหกรรมป้องกันประเทศ

“งานแสดงเทคโนโลยีและอุตสาหกรรมป้องกันประเทศ ครั้งที่ ๑”
โดยสมาคมอุตสาหกรรมเพื่อการป้องกันประเทศ (สอป.)
ร่วมสนับสนุนโดย กรมวิทยาสตร์และเทคโนโลยีกลาโหม
กระทรวงกลาโหม ,สถานีวิทยุและโทรทัศน์กองทัพบกช่อง ๕ และสมาคมไทยซับคอน
วันที่ ๒๐ – ๒๑ มีนาคม ๒๕๖๖ ณ ททบ.๕ (สนามเป้า)

ผลประโยชน์และความพร้อมของผู้ประกอบการไทย, การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีแบบสองทาง (Dual-use), การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีอุตสาหกรรมป้องกันประเทศ
ในการสร้าง Smart City เมืองอัจฉริยะ

เรียน ท่านแขกผู้มีเกียรติทุกท่าน

โปรดร่วมลงทะเบียนด่วน
เพื่อแจ้งความประสงค์เข้าร่วมงานแสดงเทคโนโลยีและอุตสาหกรรมป้องกันประเทศ (ครั้งที่ 1)
Thailand Defense Industry and Technology Security Exhibition : TDIS2023
วันที่ 20-21/3/2566
เวลา 8.00-16.30 น.
ณ อาคาร ททบ.5 (สนามเป้า)
ชั้น G,2 และชั้น 3

(ท่านที่สะดวกโปรดเดินทางด้วยการคมนาคมสาธารณะ หรือแจ้งคนขับรถให้ส่งหน้างาน แล้วค่อยมารับภายหลัง
เนื่องจากที่จอดรถมีจำกัด! เพื่อช่วยลดปัญหาทางการจราจร โดยจะมี จนท.ทบ, จนท.ตร. ดูแลระบบรักษาความปลอดภัย และการจราจรทั่วบริเวณ)💡

โดย จนท.จะทำการประสานงานพิจารณามอบบัตรจอดรถ และคูปองรับรองอาหารเครื่องดื่มของว่างฟรี!

การแต่งกาย: ชุดสูทสุภาพ เครื่องแบบราชการ รองเท้าหุ้มส้น เป็นทางการ

ส่งข้อมูลมายังอีเมลล์ indsa.info@gmail.com
Tel.097-174-9555
นางสาวณัฐณิชา รัตนะ
ฝ่ายอำนวยการ

ขอขอบพระคุณทุกการสนับสนุนการจัดงาน และขอยินดีต้อนรับ

จัดบูทวันที่18มีนาคม 2566
จัดบูทวันที่18มีนาคม 2566

คลิ๊กเพื่อดูภาพงานวันที่21มีนาคม 2566

คลิ๊กเพื่อดูภาพงานวันที่20มีนาคม 2566


หัวข้อเสวนา
“งานแสดงเทคโนโลยีและอุตสาหกรรมป้องกันประเทศ ครั้งที่ ๑”
โดยสมาคมอุตสาหกรรมเพื่อการป้องกันประเทศ (สอป.)
ร่วมสนับสนุนโดย กรมวิทยาสตร์และเทคโนโลยีกลาโหม
กระทรวงกลาโหม ,สถานีวิทยุและโทรทัศน์กองทัพบกช่อง ๕ และสมาคมไทยซับคอน
วันที่ ๒๐ – ๒๑ มีนาคม ๒๕๖๖ ณ ททบ.๕ (สนามเป้า)

๑. การสร้างโอกาสและบูรณาการความร่วมมือทุกภาคส่วน ร่วมกำหนดทิศทางการพัฒนา อุตสาหกรรมป้องกันประเทศของไทย สู่การเป็นผู้นำในการเป็นฐานการผลิตชิ้นส่วนใหญ่แห่งอาเซียน เพื่อเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจและความมั่นคงอย่างยั่งยืน

๒. ถอดรหัสอุตสาหกรรมป้องกันประเทศของไทย กำเนิดห่วงโซ่เศรษฐกิจใหม่ บนพื้นฐานเศรษฐกิจ และความมั่นคงอย่างยั่งยืน

๓. วิศวกรรมและนวัตกรรมจะช่วยยกระดับศักยภาพ เสถียรภาพ และความปลอดภัยของการป้องกันประเทศได้อย่างไร

๔. ทิศทางการสนับสนุนและความร่วมมือของ BOI (Board of
Investment) สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน แก่ผู้ประกอบการด้านอุตสาหกรรมป้องกันประเทศของไทย

๕. การเสวนา หัวข้อ Psychological Operations (Psyops) การสงครามจิตวิทยา (Psychological warfare) – Psy Ops and Cyber Warfare ปฏิบัติการจิตวิทยาที่อยู่ในพื้นที่ไซเบอร์

๖. ผลประโยชน์และความพร้อมของผู้ประกอบการไทย, การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีแบบสองทาง (Dual-use), การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีอุตสาหกรรมป้องกันประเทศ
ในการสร้าง Smart City เมืองอัจฉริยะ

๗. Cyber Threat ภัยคุกคามความมั่นคงของชาติ

๘. แนวคิดเชิงบูรณาการอุตสาหกรรมป้องกันประเทศ
จากมุมมองนักวิชาการ ร่วมกับ วิสัยทัศน์ผู้นำธุรกิจยุคใหม่ของอุตสาหกรรมป้องกันประเทศไทย

ขอบคุณครับ

งานวันนี้ Feedback คือดีงาม ปัง!!ขลัง✨ คุณค่าที่คู่ควร✨ ทุกคนชม และบอกว่าจะมีอีกเมื่อไหร่…

งานที่ต้องเตรียมหกเดือน
เสกขึ้นภายในหนึ่งเดือน…
ด้วยภาพลักษณ์ที่น่าเชื่อถือในสายตาต่างชาติ…และนักลงทุน…
ความร่วมมือร่วมใจ…
ความเมตตาที่อยากช่วยเหลือผู้ประกอบการวงการอุตสาหกรรมป้องกันประเทศ
ให้มีโอกาสทางการค้า และการลงทุนที่ดีขึ้น คือปาฏิหาริย์ที่เสกงานจากหัวใจรักชาติรักวงการนี้ของทุกท่านอย่างแท้จริง
‘เพราะความสามัคคี
ไม่ใช่ทางเลือก…
แต่คือทางรอด!
ถ้าเราร่วมมือกัน
จะไม่มีอะไรที่คนไทยทำไม่ได้

กราบขอบพระคุณในทุกคำชม
ขอยกให้ผู้ใหญ่ ผู้สนับสนุน ผู้ปิดทองหลังพระในแผ่นดิน
ทีมผู้จัดงาน ทุกบุคลากร
องค์ประกอบทุกภาคส่วน ที่ร่วมสร้างงานให้สำเร็จ ผู้คนมาร่วมงานอย่างพร้อมหน้าพร้อมตา

พรุ่งนี้ มีสถานทูต และสภาการค้าต่างประเทศ ยังมาเข้าร่วมงานนักเรียน นักศึกษาทหาร เข้าชมงาน ไฮไลท์เวทีผู้ประกอบการนิวเจนฯ

อาหารแจกทุกท่านเช่นเดิมค่ะ

5 พิธีกรมากความสามารถ จะมาตั้งคำถามถอดหมุดคลายปม "อุตสาหกรรมป้องกันประเทศของไทย" ทำให้เกิดเป็นเชิงพาณิชย์ได้อย่างไร
GOOGLE MAP

ประกาศ กำหนดการเข้าจัดบูธ งาน TDIS2023 ณ อาคาร ททบ.5 วันอาทิตย์ ที่ 19/3/2566 เวลา 8.00-17.00 น. ซ้อม Run through พิธีการเปิดงานและเวทีเสวนา ณ จุดเวทีเสวนา เวลา 16.00 น. โดยทุกท่านผู้ออกบูธ โปรดรับบัตร Exhibitor และบัตรต่างๆ ล่วงหน้าได้ที่ จุดประชาสัมพันธ์ ชั้น G โทรศัพท์: 097-174-9555 คุณเมเบิ้ล 080-793-6354 คุณต้น

เบอร์ติดต่อ ฝ่ายอำนวยการจัดงาน
โทรศัพท์:📞📲✨💡
งาน TDiS2023
ณ อาคาร ททบ.5
ชั้น G,1,2

097-174-9555 คุณเมเบิ้ล
นางสาวณัฐณิชา รัตนะ
ฝ่ายอำนวยการจัดงาน
(เจ้าภาพ-สอป.)⚙️
indsa.info@gmail.com

080-793-6354 คุณต้น
นายพงศ์พันธ์ ทองอยู่
Pongpun234567@gmail com
ออร์แกไนเซอร์งาน บูธ ระบบไฟฟ้า

093-621-3338 ท่านยอดชัย
พลโทยอดชัย ยั่งยืน⚙️
ฝ่ายอำนวยการ รปภ.(เจ้าภาพ)

085-062-4062
081-549-3879
จนท.ทหาร รปภ.จากกรมข่าว ทบ.

06-2293-9516
mootgntv@gmail.com
คุณพีรญา ฤทธิศร
ผู้จัดการสถานที่จัดงาน

097-225-5125
พ.อ.ณัฐพล ช่วยศรีนวล
หัวหน้าฝ่ายประสานงาน ททบ.5

095-948-7522
คุณเอก (เลขานุการ สอป.)⚙️
นายภาณุพันธ์ โภคามาศ
ฝ่ายเวทีเสวนา แสง สี เสียง

087-001-0770
พันเอกกิตติ รัตนดิษฐ์
หัวหน้าฝ่ายผู้ประสานงาน วท.กห.
เจ้าภาพ ชั้น 3
บูธส่วนราชการและงานวิจัย
093 124 1145
ร.อ.หญิง สุชาวลี ดิษฐวิบูลย์ ร.น. ผู้ประสาน วท.กห.

0970845408
คุณสหัส ศิริเกตุ
กรรมการฝ่ายประชาสัมพันธ์และสื่อมวลชน (เจ้าภาพ⚙️)

098-269-8942
ท่านเกียรติศักดิ์ (นายก Thaisubcon)
081-375-9601
ท่านประมุท จิรา (เจ้าภาพ⚙️)
หัวหน้าฝ่ายต้อนรับต่างประเทศ

082-223-4444
คุณพรทิพย์ วนาพิทักษ์
หัวหน้าฝ่ายต้อนรับในประเทศ
(ทีมที่ปรึกษา สอป.
รับรองแขก VIP)

Latest News

Contact us

E-Mail: indsa.info@gmail.com


Telephone: (+66)64-245-4352


Address: 70/1 Soi Prawit Lae Puen, Prachachuen Road, Ladyao. Chatuchak, Bangkok 10900